[Font : 15 ]
| |
เรียกกันวา "สัตว" เพราะติดเบญจขันธ์ |  

"ขาแตพระองคผูเจริญ ! คนกลาวกันวา 'สัตว สัตว' ดังนี้, เขากลาวกันวา 'สัตว' เชนนี้ มีความหมายเพียงไร ? พระเจาขา !"

ราธะ ! ฉันทะ (ความพอใจ) ราคะ (ความกําหนัด) นันทิ (ความเพลิน) ตัณหา (ความทะยานอยาก) ใด ๆ มีอยูในรูป, สัตวยอมเกี่ยวของ ยอมติดในรูปนั้น ดวยฉันทราคะเปนตนนั้น เพราะฉะนั้น สัตวนั้น จึงถูกเรียกวา "สัตว (ผูของติด)" ดังนี้ ;

ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหาใด ๆ มีอยูในเวทนา, สัตวยอมเกี่ยวของ ยอมติดในเวทนานั้น ดวยฉันทราคะเปนตนนั้น เพราะฉะนั้นสัตวนั้น จึงถูกเรียกวา "สัตว" ดังนี้ ;

ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใด ๆ มีอยูในสัญญา, สัตวยอมเกี่ยวของ ยอมติดในสัญญานั้น ดวยฉันทราคะเปนตนนั้น เพราะฉะนั้นสัตวนั้น จึงถูกเรียกวา "สัตว" ดังนี้ ;

ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใด ๆ มีอยูในสังขารทั้งหลาย, สัตวยอมเกี่ยวของ ยอมติดในสังขารทั้งหลายเหลานั้น ดวยฉันทราคะเปนตนนั้นเพราะฉะนั้น สัตวนั้น จึงถูกเรียกวา "สัตว" ดังนี้ แล.;

ราธะ ! ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ใด ๆ มีอยูในวิญญาณ, สัตวยอมเกี่ยวของ ยอมติดในวิญญาณนั้น ดวยฉันทราคะเปนตนนั้น เพราะฉะนั้นสัตวนั้น จึงถูกเรียกวา "สัตว" ดังนี้ แล.

- ขนฺธ. สํ. 17/232/367.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง