[Font : 15 ]
| |
4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ |  

ภิกษุ ท.! ก็ อริยสัจ คือหนทางเปนเครื่องใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางไรเลา? คือ หนทางอันประกอบดวยองคแปดอันประเสริฐนี้เอง. องคแปดคือ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ วาจาชอบ การงานชอบอาชีวะชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

ภิกษุ ท .! ความเห็นชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท .! ความรูในทุกข ความรูในเหตุใหเกิดทุกข ความรูในความดับไมเหลือแหงทุกข ความรูในหนทางเปนเครื่องใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข อันใด, นี้เราเรียกวาความเห็นชอบ.

ภิกษุท.! ความดําริชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท.! ความดําริในการออก (จากกาม) ความดําริในการไมพยาบาท ความดําริในการไมเบียดเบียน, นี้เราเรียกวา ความดําริชอบ.

ภิกษุ ท .! วาจาชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท .! การเวนจากการพูดเท็จ การเวนจากการพูดยุใหแตกกัน การเวนจากการพูดหยาบ การเวนจากการพูดเพอเจอ, นี้เราเรียกวา วาจาชอบ

ภิกษุ ท .! การงานชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท .! การเวนจากการฆาสัตว การเวนจากการถือเอาสิ่งของที่เจาของไมไดให การเวนจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย, นี้เราเรียกวา การงานชอบ.

ภิกษุ ท .! อาชีวะชอบ เปนอยางไร? ภิกษุ ท .! อ ริยสาวกในกรณีนี้ ละการหาเลี้ยงชีพที่ผิดเสีย สําเร็จความเปนอยูดวยการหาเลี้ยงชีพที่ชอบ, นี้เราเรียกวา อาชีวะชอบ

ภิกษุ ท .! ความเพียรชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท .! ภิกษุในกรณีนี้ ยอมปลูกความพอใจ ยอมพยายาม ยอมปรารภความเพียร ยอมประคองจิต ยอมตั้งจิตไว เพื่อความไมบังเกิดขึ้นแหงอกุศลธรรมทั้งหลายอันลามก ที่ยังไมไดบังเกิด; ยอมปลูกความพอใจ ยอมพยายาม ยอมปรารภความเพียร ยอมประคองจิต ยอมตั้งจิตไว เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันลามกที่บังเกิดขึ้นแลว; ยอมปลูกความพอใจ ยอมพยายาม ยอมปรารภความเพียร ยอมประคองจิต ยอมตั้งจิตไว เพื่อการบังเกิดขึ้นแหงกุศลธรรมทั้งหลาย ที่ยังไมไดบังเกิด; ยอมปลูกความพอใจ ยอมพยายาม ยอมปรารภความเพียร ยอมประคองจิต ยอมตั้งจิตไว เพื่อความยั่งยืน ความไมเลอะเลือนความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย ความเจริญ ความเต็มรอบ แหงกุศลธรรมทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแลว. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา ความเพียรชอบ

ภิกษุ ท .! ความระลึกชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุ ท .! ภิกษุในกรณีนี้ เปนผูมีปรกติพิจารณาเห็นกายในกายอยู, มีความเพียรเครื่องเผาบาปมีความรูสึกตัวทั่วพรอม มีสติ นําความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; เปนผูมีปรกติพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรูสึกตัวทั่วพรอม มีสติ นําความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; เปนผูมีปรกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู, มีความเพียรเครื่องเผาบาปมีความรูสึกตัวทั่วพรอม มีสติ นําความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได; เปนผูมีปรกติพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู, มีความเพียรเครื่องเผาบาป มีความรูสึกตัวทั่วพรอม มีสติ นําความพอใจและความไมพอใจในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา ความระลึกชอบ

ภิกษุ ท.! ความตั้งใจมั่นชอบ เปนอยางไร ? ภิกษุท.! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแลวจากกามทั้งหลาย สงัดแลวจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เขาถึงฌานที่หนึ่ง อันมีวิตกวิจาร มีปติและสุขอันเกิดแตวิเวก แลวแลอยู. เพราะวิตกวิจารรํางับลง, เธอเขาถึงฌานที่สอง อันเปนเครื่องผองใสแหงใจในภายในใหสมาธิเปนธรรมอันเอกผุดขึ้น ไมมีวิตกไมมีวิจาร มีแตปติและสุขอันเกิดแตสมาธิ แลวแลอยู, เพราะปติจางหายไป, เธอเปนผูเพงเฉยอยูได มีสติ มีความรูสึกตัวทั่วพรอม และไดเสวยสุขดวยนามกาย ยอมเขาถึงฌานที่สาม อันเปนฌานที่พระอริยเจาทั้งหลาย กลาวสรรเสริญผูไดบรรลุ วา "เปนผูเฉยอยูไดมีสติ มีความรูสึกตัวทั่วพรอม" แลวแลอยู เพราะละสุขและทุกขเสียได และเพราะความดับหายแหงโสมนัสและโทมนัสในกาลกอน เธอยอมเขาถึงฌานที่สี่อันไมทุกขและไมสุข มีแตสติอันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แลวแลอยู. ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา สัมมาสมาธิ.

ภิกษุ ท.! นี้เราเรียกวา อริยสัจคือหนทางเปนเครื่องใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข

- มหา. ที. 10/340-350/294-299.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง