[Font : 15 ]
| |
ทำที่สุดทุกข์โดยไม่รู้อริยสัจนั้น เป็นไปไม่ได้ |  

ภิกษุ ท.! ผูใด พึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจาไมรูเฉพาะตามเปนจริง ซึ่งอริยสัจคือทุกข ซึ่งอริยสัจคือเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือความดับไมเหลือแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกขแลวขาพเจาก็จักกระทําที่สุดแหงทุกขโดยชอบได" ดังนี้ : ขอนี้ไมเปนฐานะที่จะมีได. ภิกษุ ท.! เปรียบเหมือนผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจาจักทําหอดวยใบแหงไมสีเสียด หรือใบแหงไมสรละ หรือใบแหงไมมะขามปอม แลวจักใสน้ำหรือน้ำตกจากตนตาล แลวนําไปได" ดังนี้ : ขอนี้ไมเปนฐานะที่จะมีได; ภิกษุ ท.! ฉันใดก็ฉันนั้น ที่ผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจาไมรูเพราะตามเปนจริง ซึ่งอริยสัจคือทุกข ซึ่งอริยสัจคือเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือความดับไมเหลือแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข แลวขาพเจาก็จักกระทําที่สุดแหงทุกขโดยชอบได" ดังนี้ : ขอนี้ไมเปนฐานะที่จะมีได.

ภิกษุ ท.! สวนผูใดแลพึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจารูเฉพาะตามเปนจริงซึ่งอริยสัจคือทุกข ซึ่งอริยสัจคือเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือความดับไมเหลือแหงทุกขซึ่งอริยสัจคือทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข แลวขาพเจาก็จักกระทําที่สุดแหงทุกขโดยชอบได" ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่มีได. ภิกษุ ท.! เปรียบเหมือนผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจาจักทําหอดวยใบบัว หรือใบปลาสะ หรือใบยางซาย แลวจักใสน้ำ หรือน้ำตกจากตนตาล แลวนําไปได" ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่จะมีได; ภิกษุ ท.! ฉันใดก็ฉันนั้น ที่ผูใดจะพึงกลาวอยางนี้วา "ขาพเจารูเฉพาะตามเปนจริงซึ่งอริยสัจคือทุกข ซึ่งอริยสัจคือเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ซึ่งอริยจสัจคือความดับไมเหลือแหงทุกข ซึ่งอริยสัจคือทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข แลวขาพเจาก็จักกระทําที่สุดแหงทุกขโดยชอบได" ดังนี้ : ขอนี้เปนฐานะที่มีได.

ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเปนเครื่องกระทําใหรูวา "ทุกข เปนอยางนี้, เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข เปนอยางนี้, ความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางนี้, ทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข เปนอยางนี้." ดังนี้.

- มหาวาร. สํ. 19/549/1714-1715.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง