[Font : 15 ]
| |
อย่าคิดเรื่องโลก แต่จงคิดเรื่องอริยสัจ |  

ภิกษุ ท.! มีเรื่องราวในกาลกอน : บุรุษผูหนึ่ง ตั้งใจวาจะคิด ซึ่งความคิดเรื่องโลก, จึงออกจากนครราชคฤหไปสูสระบัวชื่อ สุมาคธา แลวนั่งคิดอยูที่ริมฝงสระ. บุรุษนั้นไดเห็นแลว ซึ่งหมูเสนาประกอบดวยองคสี่ (คือชาง มารถ พลเดินเทา) ที่ฝงสระสุมาคธานั้น เขาไปอยู ๆ สูเหงารากบัว. ครั้นเขาเห็นแลวเกิดความไมเชื่อตัวเองวา "เรานี้บาแลว เรานี้วิกลจริตแลว, สิ่งใดไมมีในโลกเราไดเห็นสิ่งนั้นแลว" ดังนี้. ภิกษุ ท.! บุรุษนั้นกลับเขาไปสูนครแลว ปาวรองแกมหาชน วา "ทานผูเจริญ ! ขาพเจาเปน บาแลว ขาพเจาวิกลจริตแลว, เพราะวาสิ่งใดไมมีอยูในโลก ขาพเจามาเห็นแลวซึ่งสิ่งนั้น" ดังนี้. มีเสียงถามวา เห็นอะไรมา ? เขาบอกแลวตามที่เห็นทุกประการ. มีเสียงรับรองว่า "ถูกแล้ว, ท่านผู้เจริญเอ๋ย ! ท่านเป็นบ้าแล้ว ท่านวิกลจริตแล้ว".

ภิกษุ ท.! แตวาบุรุษนั้น ไดเห็นสิ่งที่มีจริง เปนจริง หาใชเห็นสิ่งไมมีจริง ไมเปนจริงไม. ภิกษุ ท.! ในกาลกอนดึกดําบรรพ : สงครามระหวางพวกเทพกับอสูรไดตั้งประชิดกันแลว. ในสงครามครั้งนั้น พวกเทพเปนฝายชนะ อสูรเปนฝายแพ. พวกอสูรกลัว แลวแอบหนีไปสูภพแหงอสูรโดยผานทางเหงารากบัว หลอกพวกเทพใหหลงคนอยู. (เรื่องของโลกยอมพิสดารไมสิ้นสุดถึงเพียงนี้). ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอทั้งหลาย จงอยาคิดเรื่องโลก โดยนัยวา "โลกเที่ยงหรือ ? โลกไมเที่ยงหรือ? โลกมีที่สุดหรือโลกไมมีที่สุดหรือ? ชีพก็ดวงนั้น รางกายก็รางนั้นหรือ ? ชีพก็ดวงอื่น รางกายก็รางอื่นหรือ ? ตถาคตตายแลวยอมเปนอยางที่เปนมาแลวนั้น อีกหรือ? ตถาคตตายไปแลว ไมเปนอยางที่เปนมาแลวนั้น อีกหรือ? ตถาคตตายไปแลว เปนอยางที่เปนมาแลวอีกก็มี ไมเปนก็มี หรือ ? ตถาคตตายไปแลว เปนอยางที่เปนมาแลวอีกก็ไมเชิง ไมเปนก็ไมเชิง หรือ ?" เพราะเหตุไรจึงไมควรคิดเลา ? ภิกษุ ท.! เพราะความคิดนั้น ไมประกอบดวยประโยชน ไมเปนเงื่อนตนแหงพรหมจรรยไมเปนไปพรอมเพื่อความหนายทุกข ความคลายกําหนัด ความดับ ความรํางับความรูยิ่ง ความรู้พรอม และนิพพาน เลย.

ภิกษุ ท.! เมื่อพวกเธอจะคิด จงคิดวา เชนนี้ๆ เปนทุกข, เชนนี้ๆ เปนเหตุใหเกิดทุกข, เชนนี้ๆ เปนความดับไมเหลือของทุกข, และเชนนี้ ๆ เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของทุกข:" ดังนี้ เพราะเหตุไรจึงควรคิดเลา ? เพราะความคิดนี้ ยอมประกอบดวยประโยชน เปนเงื่อนตนของพรหมจรรย เปนไปพรอมเพื่อความหนายทุกข ความคลายกําหนัด ความดับความรํางับความรูยิ่ง ความรูพรอม และนิพพาน.

ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้พวกเธอพึง ทําความเพียรเพื่อใหรูตามเปนจริง วา "นี้เปนทุกข, นี้เปนเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข, นี้เปนความดับไมเหลือแหงทุกข, นี้เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข" ดังนี้เถิด.

- มหาวาร. สํ. 19/558-559/1725-1727


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง