[Font : 15 ]
| |
อยากลาวเรื่องทุมเถียงแกงแยงกัน แตจงกลาวเรื่องความพนทุกข์ |  

ภิกษุ ท.! พวกเธออยากลาวถอยคําที่ยึดถือเอาแตกตางกัน วา "ทานไมรูทั่วถึงธรรมวินัยนี้, ขาพเจารูทั่วถึงธรรมวินัยนี้, ทานจักรูทั่วถึงธรรมวินัยไดอยางไร ทานปฏิบัติผิด, ขาพเจาซิปฏิบัติชอบ, คําควรกลาวกอน ทานกลาวทีหลัง คําควรกลาวทีหลัง ทานมากลาวกอน คําพูดของทานจึงไมเปนประโยชนคําพูดของขาพเจาเปนประโยชน. ขอที่ทานเคยถนัด มาแปรปรวนไปเสียแลว. ขาพเจาแยงคําพูดของทานแหลกหมดแลว, ทานถูกขาพเจาขมแลว เพื่อใหถอนคําพูดผิด ๆ นั้นเสียหรือทานสามารถก็จงคานมาเถิด:" ดังนี้.พวกเธอไมพึงกลาวถอยคําเชนนั้นเพราะเหตุไรเลา? เพราะการกลาวนั้น ๆ ไมประกอบดวยประโยชน ไมเปนเงื่อนตนของพรหมจรรย ไมเปนไปพรอมเพื่อความหนายทุกขความคลายกําหนัด ความดับ ความรํางับ ความรูยิ่ง ความรูพรอม และนิพพาน.

ภิกษุ ท.! เมื่อพวกเธอจะกลาว จงกลาววา "เชนนี้ๆ เปนความทุกข, เชนนี้ๆ เปนเหตุใหเกิดทุกข, เชนนี้ๆ เปนความดับไมเหลือของทุกข, และเชนนี้ ๆ เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือของทุกข;" ดังนี้. เพราะเหตุไรจึงควรกลาวเลา ? เพราะการกลาวนั้น ๆ ยอมประกอบดวยประโยชนเปนเงื่อนตนของพรหมจรรย เปนไปพรอมเพื่อความหนายทุกข ความคลายกําหนัด ความดับ ความรํางับ ความรูยิ่ง ความรูพรอม และนิพพาน.

ภิกษุ ท.! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง ทําความเพียรเพื่อใหรูตามเปนจริงวา "นี้เปนทุกข, นี้เปนเหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข, นี้เปนความดับไมเหลือแหงทุกข, นี้เปนทางดําเนินใหถึงความดับไมเหลือแหงทุกข," ดังนี้เถิด.

- มหาวาร. สํ. 19/525/1662.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง